Monday, 29 May 2023

ใส่บ าตรออนไลน์ เจ้าของร้าน ทำด้วยใจบริสุทธิ์ – พระพยอม ตอบชัดได้บุญไหม

20 Sep 2022
471

กลายเป็นไวรั ลคลิ ปร้านไลฟ์ ให้ลูกค้าใส่บ าตรออนไลน์ เจ้าตัวร่ำไ ห้เจอดราม่า ยันทำด้วยใจบริสุทธิ์ ด้าน พระพยอม มองเป็นความก้าวหน้า แนะจะได้บุญต้องดูให้ครบองค์ประกอบ

จากกรณีโลกโซเชียลแชร์คลิปของพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ไลฟ์เปิดให้คนซื้อชุดอาหารและดอกไม้ เพื่อนำไปใส่บ าตรให้กับพระสงฆ์ พร้อมระบุว่า

“มิติใหม่แห่งการตักบ าตร โดยที่ไม่ต้องลุกจากที่นอน อยากใส่บ าตรไม่ต้องไปถึงที่แล้วนะ ลูกค้าแค่โอนก็ได้ใส่บ าตรแล้ว ไอเดียดีมาก ยุคนี้ใครไม่ปรับตัวอยู่ไม่รอดนะบอกเลย แล้วคือร้านข า ยดีจนสงสารพระรับของไม่ทัน”

ซึ่งหลังคลิปนี่ถูกเผยแพร่ออกไปก็มีทั้งคนที่มองว่าเป็นเรื่องดีในการเปิดโอกาสให้คนทำบุญ ขณะที่บางส่วนก็รู้สึกว่าไม่เหมาะสมนั้น

เกี่ยวกับเรื่องนี้ วันที่ 20 กันยายน 2565 รายการเรื่องเล่าเช้านี้ ช่อง 3 รายงานว่า ร้านค้าดังกล่าวอยู่ในพื้นที่ตลาดบางฆ้อง ถนนศรีสมุทร ต.ปากน้ำ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

พบว่าร้านไลฟ์เปิดให้จองชุดใส่บ าตรตั้งแต่ช่วงเวลา 05.30 – 07.00 น. ด้วยการเขียนชื่อ-สกุล คนที่ซื้อผ่านออนไลน์ใส่ไปในถุง และจะนิมนต์พระสงฆ์ที่เดินผ่านร้านเพื่อใส่บ าตร และให้รับพรกันแบบสด ๆ โดยไม่มีการนำชุดใส่บ าตรมาเวียนข า ยซ้ำ และพระสงฆ์ก็ไม่ได้ยืนปักหลักเพื่อรับบ าตรที่หน้าร้านแต่อย่างใด

ด้าน นายวรพงศ์ อายุ 45 ปี เจ้าของร้านข้าวแกงเฮียโก๋ เปิดเผยว่า ตนเปิดร้านข า ยข้าวแกงใส่บ าตรที่ตลาดแห่งนี้มาเกือบ 9 ปี เมื่อเดือนที่แล้วขณะกำลังไลฟ์ ลูกค้าได้ถามว่าทำอะไร ตนจึงบอกว่ากำลังทำกับข้าวใส่บ าตร ลูกค้าจึงขอฝากทำบุญด้วย เพราะต้องดูแลแม่ที่ป่ วยติดเตียง ไม่สามารถออกมาทำบุญได้

ตนมองว่าสิ่งนี้เป็นสะพานบุญให้คนอื่น และไม่ได้เลียนแบบแนวคิดจากใคร ทำด้วยใจซื่อบริสุทธิ์ ปัจจุบันใน 1 วันจะข า ยประมาณ 60 ชุด ราคาปกติชุดละ 40 บ าท แต่ละชุดจะมีแกง 1 ถุง ข้าวสวย 1 ถุง ขนมหวาน และน้ำดื่ม

กรณีที่โลกออนไลน์ตั้งคำถามถึงความเหมาะสม ตนมองว่าทุ กคนมีสิทธิ์ที่จะคิด ช่องทางของตนเหมาะสำหรับผู้ป่ วยติดเตียง คนที่ไม่มีเวลา และคนไทยที่อยู่ต่างประเทศ ส่วนคนที่มองในแง่ร้ าย เชื่อว่าสักวันเขาจะเข้าใจเอง

เพราะตนทำด้วยใจซื่อบริสุทธิ์  ยอมรับว่าอ่านคอมเมนต์แล้วกระท บต่อจิตใจคนในครอบครัว คนชมก็มี คนด่ าก็เยอะ ตนคงไปห้ามความคิดใครไม่ได้ บางวันที่ข า ยของไม่หมด ตนก็นำไปให้คนจ ร คนไ ร้บ้านในละแว กนี้เพื่อเป็นการทำท าน

ส่วนประเด็นพระที่มารับบ าตร เป็นพระสงฆ์ที่เดินบิณฑบาตผ่านร้านทุ กวัน วันละ 6-8 รูป เมื่อเดินผ่านมาตนก็จะนิมนต์ ไม่ได้เจาะจงว่าจะต้องใส่พระรูปไหน ท่านไม่ได้นั่งหรือยืนรอรับบ าตรที่หน้าร้านอย่างที่โซเชียลตั้งข้อสังเกต และร้านตนไม่เคยนำชุดใส่บ าตรมาวนข า ยใหม่

เพราะตนรู้ดีว่าทำแบบนั้นลูกค้าและตนย่อมไม่สบายใจ หลังจากที่กลายเป็นข่าว ยอมรับว่ามีผลกระท บ บางคนด่ าแบบเสียห ายทั้งที่ยังไม่รู้ข้อเท็จจริง และพระสงฆ์ที่เคยมารับบ าตรบางรูปไม่กล้าเดินผ่านร้าน เพราะกลัวชาวพุทธไม่สบายใจ

พระพยอม มองเป็นความก้าวหน้ายุคสมัย หากคนทำมีจิตศรัทธาย่อมได้บุญ

เกี่ยวกับเรื่องนี้ พระพยอม กลฺยาโณ เจ้าอาวาสวัดสวนแก้ว ต.บางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี ให้ความคิดเห็นว่า เป็นความเจริญก้าวหน้าของยุคสมัย บางคนจิตเป็นกุศลแต่ไม่มีเวลาไปทำบุญที่วัด บางคนอายุเยอะไม่มีใครพาไปก็ไม่ได้ไปใส่บ าตร เพราะฉะนั้นโลกได้พัฒนาการขึ้น ก็ต้องไปตาม

ส่วนเรื่องได้บุญหรือไม่ ขึ้นอยู่กับพระว่าพระที่มาบิณฑบาตเป็นเนื้อนาบุญหรือไม่ และเงิ นที่ญาติโยมโอนมาให้แม่ค้าได้มาอย่างบริสุทธิ์หรือไม่ ถ้าทั้งสองล้วนบริสุทธิ์ทุ กอย่างจะเกิดบุญ ส่วนวิธีการอาจจะได้ยินเสียงพระให้พรก็ได้ยินเสียงเช่นเดียวกันแค่ไม่ได้เห็นองค์ใกล้ ๆ มีการถ่ายทอดสดให้ดู ถึงเรียกว่าเป็นยุคสมัยใหม่ที่แท้จริง

ถ้าจะต้องยึดติดและทำแบบเดิมอาจจะไม่ได้ทำบุญ ถ้ามีโอกาสก็ควรทำ ให้สังเกตดูพระที่เป็นเนื้อนาบุญ ไม่ใช่พระที่วนเวียนอยู่บริเวณนั้นตลอด แม่ค้าต้องทำใจให้เป็นกลาง อย่าไปใส่บ าตรแต่องค์ที่ชอบหรือใส่บ าตรกับพระที่เป็นญาติกัน ถ้าทำเป็นหัวเฉลี่ยได้จะเรียกว่าเป็นสงฆ์หมู่สงฆ์

ถือว่าจะได้บุญในเรื่องของการใส่บ าตรออนไลน์ ถ้าไปยึดติดแบบเดิม การจะได้ทำบุญนั้นจากโอกาสจาก 10 จะเหลือเพียง 1 ถ้าเป็นการที่ดีที่สุดก็ต้องมาสัมผัสที่วัดวาอารามด้วยตนเอง จะต่างกับอยู่ที่บ้านและใส่บ าตรออนไลน์ ญาติโยมสบายใจแบบไหนก็ย่อมทำได้เพื่อบำรุงพุทธศาสนา

ถ้าจิตของผู้ทำบุญเป็นกุศลและมีจิตศรัทธาบริจ าค จะไม่ได้บุญได้อย่างไร เพราะการใส่บ าตรมีการเอ่ยชื่อผู้ที่ร่วมทำบุญใส่บ าตรทุ กคน บุญจะอยู่ที่ปีติสุขใจ เพราะตัวเองได้สละการใส่บ าตรทุ กเช้าเป็นการแกล้งกิเลส เพราะเดี๋ยวนี้คนห ล อกกันเยอะหาเว รหาก ร ร มหากงหาเกวียน จึงแนะนำให้มาหาบุญหากุศลจะดีกว่า

แอดมินเพจสายบุญ ฝากข้อคิดไว้เตือนใจนะคะ วันที่ชีวิตไม่ข าดทุน คือ วันที่ทำบุญ และให้อภัย วันที่ชีวิตมีกำไร คือ วันที่ตั้งใจทำความดี

ขอบคุณข้อมูลจาก เรื่องเล่าเช้านี้  ภาพจาก เรื่องเล่าเช้านี้  เรียบเรียงโดย เพจสายบุญ

Facebook Comments