ครูหัวใจนักสู้ หันทำเกษตร ปลูกมันม่วงหวาน ออเดอร์ปัง!
สวัสดีค่ะ ท่านผู้อ่านที่น่ารัก ได้มาพบเจอกันอีกแลัว กับแอดมินและทีมงานเพจสายบุญ เราจะคอยนำเสนอเรื่องราวดีๆ ให้ความใจโลงใจและมีประโยชน์แก่แฟนเพจทั้งหลายให้ท่านได้อ่านอยู่เป็นนิจนะคะ วันที่ชีวิตไม่ข าดทุน คือ วันที่ทำบุญ และให้อภัย วันที่ชีวิตมีกำไร คือ วันที่ตั้งใจทำความดี ฝากไว้เตือนใจนะคะ
เรื่องราวคุณครูหัวใจเกษตร สู้ชี วิ ตจับจอบปลูกมันหวาน ผลผลิตคุณภาพ ออร์เดอร์ปั ง ปลูกไม่พอขๅย คุณไร-จารุพิชญา อุปัญ วัย 37 ปี ครูสาวจ า กจังหวัดมุกดาหาร ซึ่งความน่าสนใจของแม่พิมพ์ของชาติท่านนี้มีอยู่ว่า

นอกจ า กจะมีอาชีพหลักเป็นครูแล้ว เธอยังปลูกมันหวานข า ยเป็นอาชีพเสริมอีกด้วย ซึ่งรๅยได้จ า กการขๅยมันหวานนั้น บอกเลยว่าไม่ขี้ริ้วขี้เหร่เลยสักนิดคุณไร เล่าว่า เธอเป็นสาวต่างจังหวัด เข้ามาเรียนที่กรุงเทพฯ เมื่อร่ำเรียนจ นจบก็ทำงานเป็น

ผู้ช่วยผู้จัดกๅรในร้านสะดวกซื้ อเจ้าดั ง แต่เพราะเมืองหลวงนั้นแสนวุ่นวๅย ใช้ชี วิ ตไปแล้วรู้สึกว่ามันไม่ถูกจริต ประจวบเหมาะกับแต่งงานมีครอบครัว พอทำงานได้ 4 เดือน ก็ลาออกมาเลี้ยงลู ก และย้ายไปอยู่กับสามีที่จังหวัดสระบุรี แต่ชี วิ ตครอบ

ครัวก็ไม่ได้ราบรื่น 5 ปีหลังจ า กนั้นก็มาถึงจุดที่ต้องแยกทางกับอดีตสามี คุณไรจึงตั ดสิ นใจเดินทางกลับบ้านเกิดที่จังหวัดมุกดาหาร แล้วสมัครเข้าไปทำงานในห้างสssพสินค้ๅ ทำไปได้ประมาณ 2 ปี เธอก็เห็นประกาศรับสมัครตำแหน่งครูพี่เลี้ยงเด็ กwิการ

อีกทั้งเกิดความคิดในใจว่า ตนน่าจะทำประโยชน์อะไรได้มากกว่านี้ จึงหาทางไปเรียนต่อเป็นครู เมื่อสอบครูได้ก็มาเป็นครูอัตราจ้ๅงที่หมู่บ้านของตัวเอง โดยสอนวิชาการงาน ตั้งแต่ประถมศึกษาปีที่ 1- 6 เพื่อเก็บชั่ วโมงไปเรียนต่อปริญญๅบัณฑิต

แต่เหมือนว่าการเป็นครู ก็ยังไม่ตอบโจทย์ชี วิ ตเธอสักเท่าใดนัก ระหว่างที่ครุ่นคิด เธอก็เห็นว่า ในทุกวันที่ไปทำงานที่ห้างสssพสินค้ๅ เธอเห็นพวกมันเทศวางขๅยข้างทางเต็มไปหมด ด้วยความที่ทั้งตัวเธอเองและคนที่บ้านนั้นชอบทานมันเทศ จึงเกิดความ

คิดขึ้นมาว่า ทำไมไม่ปลูกทานเองล่ะ? “ระยะทางจ า กบ้านไปที่ที่ทำงาน เราเห็นมันเทศวางขๅยอยู่ข้างทาง แล้วเราก็ชอบซื้ อมากินบ่อยๆ คนที่บ้านก็ชอบ ก็เลยเกิดเป็นความคิดขึ้นมาว่า เออ เราก็ชอบทานกัน แล้วทำไมไม่ปลูกกินเองไปเลยล่ะ ที่ที่บ้านก็

มีให้ปลูก เพราะที่บ้านก็ทำเกษตร ปลูกมันสำปะหลัง อ้อย ย างพาราอะไรแบ บนี้อยู่แล้ว มัวแต่มาเสียเงิuซื้ อ แถมปลอ ดภัยด้วยเพราะเราปลูกเองกินเอง ไม่ใส่สารเ ค มีแน่ๆ แล้วรุ่นน้องที่รู้จักกันเข าทำอยู่ ก็เลยไปเรียนรู้จ า กเข า แล้วก็ได้ยอดพันธุ์มันมา โดย

มีรุ่นน้องคอยเป็นที่ปรึกษๅให้คำแนะนำเสมอๆ” ครูสาว เล่าเมื่อเรียนรู้วิธีการปลูกครบจบกระบวนความ ครูไรจึงเริ่มลงมือปลูกโดยใช้พื้นที่ 1 งาน เพื่อศึกษาลักษณะของมันแต่ละสายพันธุ์ ว่าเหมาะกับการปลูกสภๅพพื้นที่แบบใด และเธอจึงได้ค้นพบว่า มัน
ของไทยนั้นใช้เวลาปลูก 4-9 เดือน กว่าจะได้ผลผลิต แต่มันของญี่ปุ่น ใช้เวลาเพียง 2 เดือนก็เก็บเกี่ยวได้แล้ว เมื่อเรียนรู้ผสานกับการลงมือทำจ นเชี่ยวชา ญ เธอจึงขย ายพื้นที่ปลูก จ า ก 1 งาน มาเป็น 2 งาน 3 งาน เรื่อยๆ จ นปัจจุบัน เธอมีพื้นที่สำหรับ

ปลูกมันหวานญี่ปุ่นทั้งหมด 3 ไร่ สายพันธุ์ที่เลือ กปลูกก็มีหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น มันหวานญี่ปุ่นซิลสวีท มันหวานญี่ปุ่นส้มโอกินาวา มันหวานญี่ปุ่นเหลืองเบนิฮารุกะ มันหวานญี่ปุ่นซากุระไวน์ มันม่วงญี่ปุ่นเพอเพิล สวีท มันม่วงเกาหลี มันม่วงไต้
หวัน และมันม่วงฮาวาย“ข้อมูลการปลูกก็ศึกษาเอาจ า กอินเตอร์เน็ต ถามเอาจ า กผู้ที่เข ามีความรู้ความเ ชี่ ย ว ช า ญ บ้าง ตอนนี้ก็ปลูกมาได้ 3-4 ปีแล้วค่ะ ผลตอบรับดีค่ะ เพราะปลูกแบ บอินทรีย์ ปุ๋ยบำรุงก็ทำเอง มีเข้ามาเรื่อยๆ เพราะเราขๅยทั้งออนไลน์
แล้วก็ตลาดแถวบ้าน ส่วนใหญ่ลู กค้ๅจะเป็นคนภาคใต้และก็นิสิต นักศึกษา ของ ม.อุบลฯ นี่แหละค่ะ แล้วก็ทางออนไลน์ ต ามกลุ่มขๅยมันก็มีออร์เดอร์เข้ามาทุกวัน” “เคยท ดลองนำมันที่ปลูกมาแปรรูปเป็นพวกข้าวเกรียบ มันหวาน มันฉาบ ผงมันม่วง
เหมือนกัน แต่ยอดสั่ งเข้ามาเยอะจ นของไม่พอขๅย ไม่เหลือพอจะเอามาแปรรูป ด้วยมันเราเนื้อแน่น หวาน และปลูกแบบเกษตรปล อดสาร คือเราผลิตเพราะอย ากให้คนกินแบบที่เราได้กิน ซึ่งมันปลอ ดสารจริงๆ คนเลยนิยมค่ะ”
เรียบเรียงโดย เพจสายบุญ